1. กลุ่มสารโพลิแซ็กคาไรด์
(
Polysaccharides
)ออกฤทธิ์รวมกัน ช่วยกระตุ้นการทำงานของเม็ดเลือดขาวชนิด
บี-เซลล์ (B-cells)
และทีเซลล์ (T-cells)
ทำให้เกิดการเพิ่มขึ้นอย่างมากของ
สารอิมมูโนโกลบูลิน (
lmmunoglobulin
)
และ
สารอินเตอร์ลิวคิน
(Interleukins)
ซึ่งเป็นตัวต่อต้านสารที่ทำให้แพ้ (
Antiallergy
)
2.
กลุ่มสารไตรเทอร์ปินนอยด์ชนิดขม(
Bitter Triterpenoids
)
มีอยู่ ประมาณ 100 ชนิดที่แตกต่างกัน
และสารที่มีส่วนรักษาผู้ป่วยโรคภูมิแพ้คือกลุ่มสารกรดกาโน
เดอริค
(
Ganoderic acid A, B, C1, C2, D-K, R-Z
)
และ
กรดลูซิเดนิค
(
Lucidenic acid
)
จะทำหน้าที่เป็นตัวยับยั้งไม่ให้ร่างกาย ผลิตสารฮีสตามีนออกมา
(HistamineRelease
inhibition activity)
รวมถึงกรดไขมันชนิดโอเลอิค(Oleic
acid
)และสาร
ไซโคลอ็อกต้าซัลเฟอร์
(
Cyclooctasulfur
) ซึ่งก็มีฤทธิ์ต้านไม่ให้ร่างกายผลิตสารฮีสตามีนออกมาเช่นกัน
สรุป สารฮีสตามีน
(
Histamine
) เป็นตัวปัญหา
และถ้าเราสามารถยับยั้งไม่ให้ร่างกายผลิตสารฮีสตามีน
(
Histamine
) ออกมา อาการแพ้ก็จะไม่ปรากฏ
หรือตุ่มคันตามตัวที่เคยมีก็จะหายไป
เพราะฉะนั้นการใช้เห็ดหลินจือในผู้ป่วยด้วยโรคภูมิแพ้
ก็คงเป็นเรื่องที่ทำได้เพราะเป็นการใช้ยาที่มีหลักการรองรับไว้ |