ชั่วโมงละเกือบ 4 ราย
เป็นสาเหตุการตายอันดับ
3 รองจากโรคมะเร็ง และอุบัติเหตุ จังหวัดที่มีอัตราการตายสูงที่สุดในประเทศ
ได้แก่ กรุงเทพฯ เฉลี่ยแสนละ 91 ราย
เพศชายมีอัตราแสนละ106 ราย สูงกว่าค่าเฉลี่ยของประเทศ 2
เท่าตัว
เพศหญิงมีอัตราการตายแสนละ 77 ราย
และมีแนวโน้มว่าคนป่วยจะมีอายุน้อยลงเรื่อยๆ
สาเหตุของโรคหัวใจ 80%
มาจากพฤติกรรมจากการรับประทานอาหารที่มีแป้ง น้ำตาล ไขมันสูง
ไม่ออกกำลังกาย
กล่าวกันว่า ชาวจีนโบราณรู้จักใช้เห็ดหลินจือบำรุงและรักษาโรคหัวใจ
ตั้งแต่ต้นสมัยราชวงศ์หมิงราว 630 ปี
และที่ผ่านมาหมอจีนโบราณยังคงใช้รักษา ต่อเนื่องกันมาจนถึงปัจจุบัน
มีรายงานการทดลองทางคลินิกโดยคณะแพทย์ที่กรุงปักกิ่ง
ในผู้ป่วยที่มีอาการเจ็บหน้าอก
ที่มีสาเหตุมาจากหลอดเลือดในหัวใจตีบ จำนวน 120 ราย
จากการติดตามอาการและการเปลี่ยนแปลงของคลื่นไฟฟ้าหัวใจ พบว่า
หลังจากให้กินเห็ดหลินจือผ่านไป 1 เดือน
ผู้ป่วยส่วนใหญ่มีอาการดีขึ้น และเมื่อให้กินติดต่อกันนาน 3
เดือน ผู้ป่วยจากจำนวน 120 ราย มีอาการดีขึ้น 108 ราย
คิดเป็น 90% ซึ่งเป็นตัวเลขที่น่าพอใจ
และยังมีรายงานผลการศึกษาทางคลินิกที่มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์เมืองเซียงไฮ้
พบว่า
ในผู้ป่วยที่มีภาวะอุดตันของเส้นเลือด ตามส่วนต่าง ๆ ทั้งในสมอง
หัวใจ และ แขน ขา ได้ผลสรุปออกมาว่า
|
1.
ผู้ป่วยที่มีอาการปวดศีรษะดีขึ้น |
75.0
% |
|
|
|
|
2.
ผู้ป่วยที่มีอาการนอนไม่หลับดีขึ้น
|
64.7 % |
|
|
|
|
3.
ผู้ป่วยที่มีอาการวิงเวียนดีขึ้น
|
58.8 % |
|
|
|
|
4.
ผู้ป่วยที่มีอาการเจ็บหน้าอกดีขึ้น |
53.8 % |
|
|
|
|
5.
ผู้ป่วยที่มีอาการมือเท้าเย็นดีขึ้น
|
52.9 % |
|
|
|
จากรายงานการวิจัยนี้ สรุปไว้ว่า เห็ดหลินจือมีฤทธิ์ลดความหนืดของเลือด
ลดความเข้มข้นของเลือด ทำให้เลือดไหลเวียนดี ได้สะดวก
เพิ่มค่าความเร็วในการตกตะกอนของเลือด ลดระดับไขมันในเลือดทั้งคลอเรสเตอรอล
และไตรกลีเซอไรด์ ยับยั้งการรวมตัวของเกร็ดเลือด
ช่วยให้เม็ดเลือดแดงเปลี่ยนแปลงรูปร่างเพื่อให้ไหลผ่านไปตามเลือดไปตามอวัยวะต่าง
ๆได้ง่ายขึ้น
ปี ค.ศ. 1980 นักวิจัยชาวญี่ปุ่นยืนยันผลการทดลองเช่นเดียวกับจีน
โดยพบว่า สารสำคัญที่ช่วยลดความดันโลหิต
และลดไขมันในเลือดคือ
กรดกาโนเดอริค (
Ganoderic
acid A)
ที่มีอยู่ในเห็ดหลินจือทำหน้าที่ยับยั้งการรวมตัวของเกร็ดเลือด
นอกจากนี้ยังพบอีกว่า เห็ดหลินจือมี
สารอัลคาลอยด์ (
Alkaloids
)
ซึ่งสารชนิดนี้จะทำหน้าที่ลดแรงเสียดทานในผนังของเส้นเลือดของหัวใจ
จากผลการศึกษาทางคลินิกที่โรงพยาบาลแห่งหนึ่งในกรุงโตเกียว
ประเทศญี่ปุ่นมีการใช้เห็ดหลินจือที่เป็นยาสกัด
รักษาผู้ป่วยที่มีภาวะความดันโลหิตสูง 53 ราย เป็นเวลานาน 6
เดือน พบว่าความดันโลหิตลดลงได้ 10
29 มิลลิเมตรปรอท
=
57.5 %
นอกจากนี้ยังมีการศึกษาผู้ป่วยด้วยโรคหัวใจ 90
รายพบว่าสารสกัดจากเห็ดหลินจือสามารถลดอาการต่างๆได้หลายอย่างเช่น
|
1.
ลดอาการแน่นหน้าอกได้ |
90.4 %
|
|
|
|
|
2. ลดอาการเจ็บหน้าอก |
84.5 %
|
|
|
|
|
3. ลดอาการอ่อนเพลียได้ |
77.8% |
|
|
|
|
4. ลดอาการมือเท้าเย็น |
73.9% |
|
|
|
|
5. ลดอาการนอนไม่หลับ |
77.8% |
|
|
|
|
6. ลดภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะได้ |
60.0% |
|
|
|
|
7. ลดอาการหายใจขัด |
72.5% |
|
|
|
บทสรุป
เห็ดหลินจือ
นับเป็นสมุนไพรที่ได้รับความสนใจจากนักวิจัยทั่วโลก
มีผลการศึกษาที่เป็นวิทยาศาสตร์ ทั้งประเทศจีน ญี่ปุ่น
เพื่อไขปริศนาความเชื่อของแพทย์จีนโบราณที่ใช้เห็ดหลินจือรักษาโรคหัวใจ
โดยเฉพาะในประเทศรัสเซีย ก็ได้ทำการวิจัยพืชสมุนไพร 21 ชนิด
ภายในศูนย์วิจัยโรคหัวใจแห่งชาติที่กรุงมอสโคว์ พบว่าเห็ดหลินจือมีฤทธิ์ต่อระบบการไหลเวียนของโลหิตและหัวใจได้อย่างกว้างขวาง
และมีประสิทธิภาพดีที่สุด
ตรงกับสรรพคุณยาของจีนโบราณที่ระบุไว้ในการบำรุงและรักษาโรคหัวใจทุกประการ
เพราะฉะนั้นไม่น่าแปลกใจเลยว่าเพราะเหตุใดที่ผ่านมาหมอจีนโบราณยังคงใช้เห็ดหลินจือรักษาผู้ป่วยโรคหัวใจอย่าง
ต่อเนื่องกันมาจนถึงปัจจุบัน และเป็นเรื่องเชื่อถือได้
ส่วนในคนที่ไม่ได้ป่วยเป็นโรคหัวใจ แพทย์จีนโบราณจะให้ใช้เห็ดหลินจือเพื่อบำรุงร่างกาย
และเป็นการป้องกันไม่ให้ป่วยเป็นโรคหัวใจได้โดยง่าย
ปัจจุบันเห็ดหลินจือที่มี
กรดกาโนเดอริค ซึงเป็นสารสำคัญที่ช่วยลดความดันโลหิต
และลดไขมันในเลือดรวมถึงสารสารอัลคาลอยด์
ที่ช่วยทำหน้าที่ลดแรงเสียดทานในผนังของเส้นเลือดของหัวใจ
ได้รับการพัฒนาเป็นยาแคปซูลเห็ดหลินจือสกัด
Gp2
คลิกอ่านข้อมูล |