|
งานวิจัยเจียวกู้หลาน
ให้ผลให้สรรพคุณในการลดน้ำตาลในเลือด
โรคเบาหวาน
คือภาวะที่ร่างกายมีปริมาณน้ำตาล
ในเลือดสูงเกินปกติ พบได้ในทุกเพศ ทุกวัย
แต่คนที่มีความเสี่ยงมากที่สุดคือ คนที่
มีอายุมากาว่า
40
ปีขึ้นไป
และคนที่ไม่ค่อยได้ออกกำลังกาย ผู้ที่มีร่างกายอ้วน
จะมีโอกาสเสี่ยงที่จะเป็นโรคนี้ได้มาก |
|
เบาหวาน
เป็นโรคเรื้อรังที่ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้
สาเหตุของโรค คือ ตับอ่อน สร้างฮอร์โมนที่ทำหน้าที่
ช่วยให้ร่างกาย เผาผลาญอาหาร ได้น้อยหรือไม่ได้เลย
จึงทำให้ ร่างกายไม่สามารถ นำน้ำตาลไปใช้ได้
จึงเกิดอาการ คั่งของน้ำตาล ในกระแสโลหิต
และในอวัยวะต่าง ๆ และจะถูกร่างกายขับทิ้ง
ในรูปของของเสียโดยอวัยวะ ที่เรียกว่า ไต
โรคเบาหวานแบ่งได้เป็น
2
ประเภทใหญ่ ๆ
ที่มีอาการสาเหตุ ความรุนแรง
และการรักษาต่างกัน
ได้รายงานสรุปรวมความว่า |
|
เบาหวานชนิดพึ่งพา
อินซูลิน
เป็นชนิดที่พบได้น้อย
แต่มีความรุนแรงสูงและอันตรายมาก
มักพบในเด็กและคนที่มีอายุต่ำกว่า
25
ปี และ
อาจพบในคนสูงอายุได้บ้าง โดยที่ตับอ่อนของ
ผู้ที่เป็นเบาหวานประเภทนี้จะสร้าง หรือ ผลิต
อินซูลินได้น้อยหรือ ไม่ได้เลยเชื่อว่าเกิด
จากร่างกาย
สร้างภูมิขึ้นมาต่อต้านและทำลายตับของตนเอง
จนไม่สามารถ สร้างอินซูลิน ได้เรียกว่า
โรคภูมิแพ้ต่อตัวเอง ผู้ป่วยมีความจำเป็นต้องฉีด
อินซูลินเข้าไปทดแทน ในร่างกาย ตามที่แพทย์สั่ง
ทุกวัน จึงจะสามารถ เผาผลาญน้ำตาลได้ตามปกติ
มิฉะนั้น ร่างกายจะเผาผลาญ
ไขมันจนทำให้ผอมอย่างรวดเร็ว และถ้าเป็นรุนแรง
จะมีการคั่งของสาร คีโตน ซึ่งเป็นของเสีย
ที่เกิดจากการเผาผลาญไขมัน สารนี้มีพิษต่อระบบประสาท
ทำให้ผู้ป่วยหมดสติถึงตายได้ |
|
เบาหวานชนิดไม่พึ่งพา อินซูลิน
เป็นชนิดที่พบเป็นส่วนใหญ่ ในคนที่มีอายุมากกว่า
40
ปี
ขึ้นไป เป็นโรคที่ซับซ้อน
ซึ่งเชื่อว่าเกิดจากกรรมพันธุและสิ่งแวดล้อม
โดยทั่วไป ผู้ป่วยจะ มีภาวการณ์ ผิดปกติ
ของกระบวนการเมตาบอริซึม และความบกพร่องในการ
หลั่งสารอินซูลิน เมื่อถูก กระตุ้นด้วย กลูโคส
ซึ่งเป็นสาเหตุของการเกิดเบาหวาน |
|
เมื่อเกิดภาวะร่างกาย ไม่ตอบสนอง ต่อ อินซูลิน
ขึ้นร่างกายก็จะพยายามปรับ ตัวเองเพื่อให้ระดับ
น้ำตาลในเลือด อยู่ในสภาวะปกติ โดยเพิ่มการหลั่ง
อินซูลินจาก ส่วนประกอบของ ดับอ่อนที่เรียกว่า
B -cell
ทำให้เกิด ภาวะ อินซูลินในเลือดสูง
ในขณะเดียวกัน ภาวะน้ำตาล ในเลือดสูงเอง
ก็ยังเป็นสาเหตุ ของ ทำให้เกิด
โรคแทรกซ้อนขึ้น |
|
การควบคุมภาวะน้ำตาลในเลือดสูงทำได้โดยต้องควบคุมอาหาร
และออกกำลังกาย รวมทั้งยารักษา เบาหวาน แต่ก็ยัง
มีข้อจำกัด เกิดอาการไม่พึงประสงค์ สถาบันวิจัย
สมุนไพร กรทวิทยาศาสตร์ การแพทย์ กระทรวงสาธารณะสุข
ได้ทำการศึกษา ลดฤทธิน้ำตาล
ด้วยสารสกัดจากเจียวกู้หลาน
พบว่าสามารถลดได้ในห้องทดลอง |
|
จากรายงานของ
Poomecome W (
อ้างอิง
Poomecome W Hypoglycemic activity of Extract From Gynostemma
Pentaphyllum Makino. [ Thesis ] Faculty of Graduate Studies,
ChiangMai University 1999 )
ได้รายงานสรุปรวมความว่า
สรรพคุณที่มีอยู่ใน
เจียวกู้หลาน จะทำกระตุ้นให้ตับอ่อนหลั่งสารอินซูลิน
และยับยั้ง การดูดซึมกลูโคส
ในทางเดินอาหาร
จากรายงานการศึกษา
ข้างต้นแสดงให้เห็นว่า เจียวกู้หลาน จะกระตุ้น
การหลั่ง อินซูลิน
และยับยั้งการดูดซึมกลูโคสในทางเดินอาหาร |
|
สมุนไพรชนิดที่ 2
ใช้รักษาโรคเบาหวาน |
|
อบเชยเทศ |
|
มีผลงานการวิจัยโดยดร.ริชาร์ด แอนเดอร์สัน
ได้แนะนำอาสาสมัครของเขาที่ป่วยเป็นเบาหวาน
ให้ลองใช้อบเชยเป็นประจำ
ปรากฏว่ามีอาสาสมัครนับร้อย
ได้รายงานผลดีกลับเข้ามาว่าสามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้
อบเชยช่วยเร่งให้การสันดาปน้ำตาลกลูโคสเพิ่มขึ้น
20
เท่า
นักวิทยาศาสตร์เห็นว่าการกินอบเชยนั้นไม่มีอันตราย
แต่ถ้าหากการทดลองรับประทาน |
|
|
|
|
เองแต่ละบุคคลนั้น หากได้ผลดีก็ถือว่าเป็นสิ่งที่ดีเกินคาด
ทั้งยังเป็นยาที่เป็นสารธรรมชาติ และในรายที่ไม่ได้ผลดี
ก็ไม่ได้มีอันตรายแต่อย่างใด
อบเชยทำหน้าที่ช่วยกระตุ้นการทำงานของระบบการให้สัญญาณอินซูลิน
(Insulin-Signaling System)
และอาจจะทำได้ดีกว่าเสียอีกโดยที่อบเชยสามารถทำงาน
ก่อนที่จะนำกลูโคสเข้าสู่เซลล์
สามารถใช้อบเชยร่วมกับอินซูลินได้ดี
นอกจากนี้ยังพบว่าสาร
MHCP
สามารถลดความดันโลหิตของสัตว์ทดลองได้
และมีคุณสมบัติเป็นสารต้านอนุมูลอิสระที่ดีอีกด้วย
ดร.แอนเดอร์สัน
แนะนำว่าควรทดลองใช้
1/4
ช้อนชาถึง 1
ช้อนชาต่อวัน
เมื่อคำนวณดูแล้ว
1
ช้อนชาจะหนักประมาณ 1,200
มิลลิกรัม ดังนั้น ขนาด 1/4
ช้อนชา
จึงประมาณเท่ากับ
300
มิลลิกรัม สามารถบรรจุลงในแคปซูล
หมายเลข
1
ได้กำลังพอดี ขนาดที่ควรใช้ก็คือ
1
แคปซูล ทุกมื้ออาหาร วันละ 4
มื้อ
ในกรณีที่ใช้เพื่อป้องกันการเกิดโรคเบาหวาน
ในกลุ่มที่มีความเสี่ยงสูง คือคนที่บิดามารดาเป็นเบาหวาน
ควรรับประทานพร้อมกับอาหารมื้อใหญ่
วันละ
1-2
เม็ด
ซึ่งจะช่วยย่อยอาหารและขับลมได้ด้วย อบเชยชนิดที่ ดร.แอนเดอร์สันใช้ทดลองนั้นเป็นชนิดที่เข้าหาได้ในประเทศสหรัฐอเมริกา
มาจากเปลือกต้นอบเชยจีนคือ
Cassia
(Cinnamomum cassia)
ซึงคล้ายกับชนิดที่มีอยู่ในป่าบ้านเรา
อบเชยชวาจะใช้ได้ดีที่สุด
ล่าสุดจากการติดต่อโดยตรงกับดร.แอนเดอร์สัน
ได้รับทราบว่าผลการศึกษาวิจัยในคนถูกตีพิมพ์ในวารสาร
เดือนธันวาคม พ.ศ.2546
ผลที่ได้จากการให้อบเชยแก่ผู้ป่วยเบาหวานพบว่าผู้ป่วยมีระดับน้ำตาล
คอเลสเตอรอล และไตรกลีเซอไรด์ในเลือดดีขึ้นระหว่าง
12-30 %
จึงเป็นผลที่ยืนยันการศึกษาวิจัยเดิมและน่านำไปใช้เพื่อป้องกัน
และใช้ร่วมกับยารักษาเบาหวานต่อไป
|
ข้อมูลเจียวกู้หลานจาก
สถาบันวิจัย สมุนไพร
กรมวิทยาศาสตร์ การแพทย์ กระทรวงสาธารณะสุข
ISBN 974-7549-68-3
สมุนไพรที่ได้รับการรับรองจากสถาบันวิจัยสมุนไพร
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
ข้อมูลอบเชยเทศจาก |